เรื่องชีวิตปลอดภัย
นักเรียนมาศึกษาความรู้จากลิงค์ เรื่องการใช้ยา
ขอให้ผู้ปกครองช่วยให้คำแนะนำแก่นักเรียนในเรื่องนี้ด้วยนะครับ
เด็กๆครับ มารู้จักเนื้อหาเกี่ยวกับ เรื่องการใช้ยา
เรื่องการใช้ยา (ชั่วโมงที่ 1)
ยา หมายถึง สารที่มีผลต่อสุขภาพและร่างกายของคนเรา สามารถใช้ในการป้องกันโรค บรรเทา
อาการเจ็บป่วย และรักษาโรค ดังนั้นเราจึงควรรู้จักประเภทของยา หลักการใช้และวิธีการเก็บรักษายาให้
ถูกวิธี
อาการเจ็บป่วย และรักษาโรค ดังนั้นเราจึงควรรู้จักประเภทของยา หลักการใช้และวิธีการเก็บรักษายาให้
ถูกวิธี
1. ประเภทของยา ยาที่ใช้ในปัจจุบันมีอยู่หลายชนิด แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้
1.1 ยาแผนปัจจุบัน เป็นยารักษาโรคแผนปัจจุบันที่ผลิตขึ้นในลักษณะ
ต่างๆ เช่น ยาเม็ด ยาแคปซูล ยาน้ำ แล้วบรรจุอยู่ในภาชนะที่
ปิดผนึกไว้ โดยมีฉลากที่ระบุชื่อยา สรรพคุณ วิธีใช้ วันหมดอายุ
ต่างๆ เช่น ยาเม็ด ยาแคปซูล ยาน้ำ แล้วบรรจุอยู่ในภาชนะที่
ปิดผนึกไว้ โดยมีฉลากที่ระบุชื่อยา สรรพคุณ วิธีใช้ วันหมดอายุ
ยาแผนปัจจุบัน
1.2 ยาแผนโบราณ เป็นยาที่ใช้รักษาโรคแผนโบราณ ยาชนิดนี้ต้อง
ขึ้นทะเบียนเป็นตำรับยาแผนโบราณอย่างถูกต้อง เช่น ยาเขียว
ยาหอม ยาธาตุบรรจบ เป็นต้น
1.3 ยาสามํัญประจำบ้าน เป็นทั้งยาแผนปัจจุบันและยาแผนโบราณ
เช่น ยาหอม ยาเม็ดพาราเซตามอล
1.4 ยาอันตราย เป็นยาส่วนใหญ่ที่ใช้รักษาโรคปัจจุบัน ที่ขวด หรือ
กล่องใส่ยาจะเขียนคำว่า ยาอันตราย ซึ่งจะต้องใช้ภายใต้
คำแนะนำของแพทย์หรือเภสัชกร เช่นยานอนหลับ ยาแก้
อาเจียน
1.5 ยาสมุนไพร เป็นยาที่ได้จากพืช หรือสัตว์ หรือแร่ธาตุ ยาที่ได้จาก
พืช เช่น ว่านหางจระเข้ ยาที่ได้จากสัตว์ เช่น ดีหมี ยาที่ได้จาก
แร่ธาตุ เช่น ดินปะสิว เป็นต้น
ขึ้นทะเบียนเป็นตำรับยาแผนโบราณอย่างถูกต้อง เช่น ยาเขียว
ยาหอม ยาธาตุบรรจบ เป็นต้น
1.3 ยาสามํัญประจำบ้าน เป็นทั้งยาแผนปัจจุบันและยาแผนโบราณ
เช่น ยาหอม ยาเม็ดพาราเซตามอล
1.4 ยาอันตราย เป็นยาส่วนใหญ่ที่ใช้รักษาโรคปัจจุบัน ที่ขวด หรือ
กล่องใส่ยาจะเขียนคำว่า ยาอันตราย ซึ่งจะต้องใช้ภายใต้
คำแนะนำของแพทย์หรือเภสัชกร เช่นยานอนหลับ ยาแก้
อาเจียน
1.5 ยาสมุนไพร เป็นยาที่ได้จากพืช หรือสัตว์ หรือแร่ธาตุ ยาที่ได้จาก
พืช เช่น ว่านหางจระเข้ ยาที่ได้จากสัตว์ เช่น ดีหมี ยาที่ได้จาก
แร่ธาตุ เช่น ดินปะสิว เป็นต้น
2. หลักการใช้ยา
3. วิธีเก็บรักษายา
วิธีเก็บรักษายา มีดังนี้
1. ควรเก็บยาไว้ในตู้ยาที่ไม่มีแสดงแดดส่องถึงโดยตรง
2. แยกยาใช้ภายในและยาภายนอกออกจากกัน
3. ยาที่เก็บต้องมีฉลากยาระบุไว้
4. ปิดผลึกยาให้สนิท
5. ควรเก็บยาไว้ให้พ้นมือเด็ก
6. ยาหมดอายุหรือเสื่อมคุณภาพต้องนำไปทิ้งทันที
เด็กๆครับ หลังจากนักเรียนได้ศึกษาเนื้อหาในเรื่องการใช้ยา
แล้วมาทำแบบฝึกหัดกันนะครับ
เรื่องการปฐมพยาบาล (ชั่วโมงที่ 2)
นักเรียนมาศึกษาความรู้จากลิงค์ เรื่องการปฐมพยาบาล
ขอใหัผู้ปกครองช่วยให้คำแนะนำแก่นักเรียนในเรื่องนี้ด้วยนะครับ
เด็กๆครับ มารู้จักเนื้อหาเกี่ยวกับ เรื่องการปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาล หมายถึง การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้เจ็บป่วยกะทันหัน หรือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ
จากอุบัติเหตุต่างๆ เพื่อบรรเทาความเจ็บป่วยก่อนที่จะนำส่งแพทย์
จากอุบัติเหตุต่างๆ เพื่อบรรเทาความเจ็บป่วยก่อนที่จะนำส่งแพทย์
1. การปฐมพยาบาลเมื่อใช้ยาผิดหรือได้รับสารเคมี ควรได้รับการปฐมพยาบาลตามอาการ
ออกฤทธิ์ของยาและสารเคมี ดังนี้
ออกฤทธิ์ของยาและสารเคมี ดังนี้
1.1 ยาหรือสารเคมีที่มีฤทธิ์กัด เช่น กรด ยาฆ่าเชื้อ น้ำยาล้างห้องน้ำ เป็นต้น
วิธีการปฐมพยาบาล
- ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจหรือคลำชีพจรไม่ได้ ต้องช่วยนวดหัวใจ
- สังเกตรอยไหม้ที่ริมฝีปากและปาก เพื่อตรวจสอบว่าเป็นสารเคมีชนิดใด
- อย่าให้ของเหลวหรือน้ำถ้าผู้ป่วยหมดสติ เพราะอาจสำลักได้
- รีบนำส่งโรงพยาบาล แล้วนำภาชนะที่บรรจุสารเคมีไปด้วย
ยาหรือสารเคมีที่มีฤทธิ์กัด
1.2 ยาหรือสารเคมีที่ไม่มีฤทธิ์กัด เช่น แอลกอฮอล์ แอสไพริน ยาแผนปัจจุบัน
วิธีการปฐมพยาบาล
- ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจหรือคลำชีพจรไม่ได้ ต้องช่วยนวดหัวใจ
- ถ้าผู้ป่วยเพิ่งกินเข้าไป พยายามล้วงคอทำให้ผู้ป่วยอาเจียนออก
- รีบนำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล นำสิ่งที่ผู้ป่วยอาเจียนไปด้วย
2. การปฐมพยาบาลเมื่อถูกสัตว์มีพิษต่อยหรือกัด สัตว์บางชนิดมีพิษที่อาจเป็นอันตรายต่อคน
เช่น งู ตะขาบ แมงป่อง เป็นต้น ดังนั้นเราจึงควรรู้วิธีการปฐมพยาบาลเมื่อถูกสัตว์ต่อยหรือกัด
ดังนี้
1.2 ยาหรือสารเคมีที่ไม่มีฤทธิ์กัด เช่น แอลกอฮอล์ แอสไพริน ยาแผนปัจจุบัน
วิธีการปฐมพยาบาล
- ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจหรือคลำชีพจรไม่ได้ ต้องช่วยนวดหัวใจ
- ถ้าผู้ป่วยเพิ่งกินเข้าไป พยายามล้วงคอทำให้ผู้ป่วยอาเจียนออก
- รีบนำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล นำสิ่งที่ผู้ป่วยอาเจียนไปด้วย
2. การปฐมพยาบาลเมื่อถูกสัตว์มีพิษต่อยหรือกัด สัตว์บางชนิดมีพิษที่อาจเป็นอันตรายต่อคน
เช่น งู ตะขาบ แมงป่อง เป็นต้น ดังนั้นเราจึงควรรู้วิธีการปฐมพยาบาลเมื่อถูกสัตว์ต่อยหรือกัด
ดังนี้
2.1 การปฐมพยาบาลเมื่อโดนผึ้งหรือต่อต่อย
- ใช้กุญแจ หลอดปากกาที่เอาไส้ออก กดไปบริเวณที่ถูกต่อย
คีบเหล็กในที่โผล่ออก
- ใช้สำสีชุบแอมโมเนีย น้ำเกลือ หรือน้ำปูนใสปิดที่บาดแผลไว้
ถ้ามีเลือดออกให้ใช้ทิงเจอร์ไอโอดีนเช็ดแผล
- ใช้กุญแจ หลอดปากกาที่เอาไส้ออก กดไปบริเวณที่ถูกต่อย
คีบเหล็กในที่โผล่ออก
- ใช้สำสีชุบแอมโมเนีย น้ำเกลือ หรือน้ำปูนใสปิดที่บาดแผลไว้
ถ้ามีเลือดออกให้ใช้ทิงเจอร์ไอโอดีนเช็ดแผล
2.2 การปฐมพยาบาลเมื่อโดนสัตว์มีพิษกัด เช่น งู ตะขาบ แมงป่อง
- ใช้ยางหรือผ้ามัดเหนือแผล ป้องกันพิษแพร่เข้าสู่หัวใจ
- รีบนำผู้บาดเจ็บส่งแพทย์ทันที
- ใช้ยางหรือผ้ามัดเหนือแผล ป้องกันพิษแพร่เข้าสู่หัวใจ
- รีบนำผู้บาดเจ็บส่งแพทย์ทันที
3. การปฐมพยาบาลการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา อุบัติเหตุจากการเล่นกีฬา อาจเกิดได้หลาย
ลักษณะ เช่น การหกล้ม การกระแทก ซึ่งอาจจะทำให้เกิดบาดแผลได้หลายลักษณะ คือ
แผลถลอก ฟกช้ำ กระดูกหัก เป็นต้น
3.1 การปฐมพยาบาลเมื่อเกิดบาดแผล
ลักษณะ เช่น การหกล้ม การกระแทก ซึ่งอาจจะทำให้เกิดบาดแผลได้หลายลักษณะ คือ
แผลถลอก ฟกช้ำ กระดูกหัก เป็นต้น
3.1 การปฐมพยาบาลเมื่อเกิดบาดแผล
- ล้างแผลด้วยน้ำสะอาด ใช้ผ้าสะอาดซับแผลให้แห้ง
- ถ้าเลือดไม่หยุดไหลให้ห้ามเลือดโดยการใช้สำลีสะอาดกดที่บาดแผล
- ทาบริเวณรอบๆ แผลด้วยแอลกอฮอล์
- ถ้าบาดแผลมีเลือดไหลไม่หยุด แผลติดเชื้อ มีบาดแผลที่ลึกและรู้สึกปวด
ควรรีบไปพบแพทย์
3.2 การปฐมพยาบาลบาดแผลฟกช้ำ หัวโน ห้อเลือด
- ห้ามนำผ้าชุบน้ำร้อนหรือของร้อนมาประคบบริเวณบาดแผล เพราะจะทำให้เลือดไหล
เวียนยิ่งขึ้น
- นำผ้าชุบน้ำเย็นหรือห่อน้ำแข็งไว้มาประคบบริเวณแผลเพื่อหยุดการคั่งของเลือด
3.3 การปฐมพยาบาลคนกระดูกหัก
- ระวังไม่ให้ปลายกระดูกที่หักเคลื่อนไหว
- ไม่ควรให้กระดูกที่หักจับเข้าที่เอง เพราะอาจจะเป็นอันตรายมากขึ้น
- รีบนำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล
สรุปก่อนจบบทเรียน เรื่องการปฐมพยาบาล
สรุปก่อนจบบทเรียน เรื่องโทษของบุหรี่และสุรา
- ถ้าเลือดไม่หยุดไหลให้ห้ามเลือดโดยการใช้สำลีสะอาดกดที่บาดแผล
- ทาบริเวณรอบๆ แผลด้วยแอลกอฮอล์
- ถ้าบาดแผลมีเลือดไหลไม่หยุด แผลติดเชื้อ มีบาดแผลที่ลึกและรู้สึกปวด
ควรรีบไปพบแพทย์
3.2 การปฐมพยาบาลบาดแผลฟกช้ำ หัวโน ห้อเลือด
- ห้ามนำผ้าชุบน้ำร้อนหรือของร้อนมาประคบบริเวณบาดแผล เพราะจะทำให้เลือดไหล
เวียนยิ่งขึ้น
- นำผ้าชุบน้ำเย็นหรือห่อน้ำแข็งไว้มาประคบบริเวณแผลเพื่อหยุดการคั่งของเลือด
3.3 การปฐมพยาบาลคนกระดูกหัก
- ระวังไม่ให้ปลายกระดูกที่หักเคลื่อนไหว
- ไม่ควรให้กระดูกที่หักจับเข้าที่เอง เพราะอาจจะเป็นอันตรายมากขึ้น
- รีบนำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล
เด็กๆครับ หลังจากนักเรียนได้ศึกษาเนื้อหาในเรื่องการปฐมพยาบาล
แล้วมาทำแบบฝึกหัดกันนะครับ
แล้วมาทำแบบฝึกหัดกันนะครับ
สรุปก่อนจบบทเรียน เรื่องการปฐมพยาบาล
เรื่องโทษของบุหรี่และสุรา (ชั่วโมงที่ 3)
นักเรียนมาศึกษาความรู้จากลิงค์ เรื่องโทษของบุหรี่และสุรา
ขอให้ผู้ปกครองช่วยให้คำแนะนำแก่นักเรียนในเรื่องนี้ด้วยนะครับ
เด็กๆครับ มารู้จักเนื้อหาเกี่ยวกับ เรื่องโทษของบุหรี่และสุรา กันนะครับ
1. บุหรี่ เป็นสารติดชนิดหนึ่งที่ถึงแม้ว่าจะเสพได้ตามขอบเขตที่กฎหมายกำหนด แต่พิษภัยของ
บุหรี่ก็ร้ายแรง เพราะในควันบุหรี่มีสารพิษอยู่
บุหรี่ก็ร้ายแรง เพราะในควันบุหรี่มีสารพิษอยู่
สารพิษในบุหรี่ มีส่วนประกอบ ดังนี้
- นิโคติน มีลักษณะเป็นน้ำมันไม่มีสี ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทส่วนกลาง ทำให้หัวใจเต้นเร็ว
ความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูง
- ไนโตเจนไดออกไซด์ ทำลายเยื่อบุหลอดลม ทำให้ถุงลมโป่งพอง
- ไฮโดรเจนไชยาไนด์ ทำลายเยื่อบุหลอดลมชนิดมีขน แล้วทำให้มีสิ่งแปลกปลอมเข้าไป
ทำลายหลอดลมได้ง่าย
ทำลายหลอดลมได้ง่าย
- คาร์บอนมอนอกไซด์ ทำให้ร่างกายได้รับออกซิเจนน้อยลง
- ทาร์ เป็นน้ำมันเหนียวข้น สีน้ำตาลจะเข้าไปจับอยู่ในปอดเกิดการระคายเคืองทำให้ถุงลม
ในปอดขยายขึ้น
ในปอดขยายขึ้น
โทษของบุหรี่
2. สุรา เป็นเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่ เมื่อดื่มสุราแอลกอฮอล์ จะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแส
เลือดไปยังประสาทส่วนกลาง ซึ่งถ้าดื่มติดต่อเป็นประจำ จะทำให้มีอาการติดสุรา และจะดื่ม
เวลาที่เคยดื่มเสมอ
เลือดไปยังประสาทส่วนกลาง ซึ่งถ้าดื่มติดต่อเป็นประจำ จะทำให้มีอาการติดสุรา และจะดื่ม
เวลาที่เคยดื่มเสมอ
- เป็นโรคต่างๆ เช่น ตับแข็ง โรคพิษสุราเรื้อรัง
- พฤติกรรมก้าวร้าวพูดจาไม่สุภาพ
- เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย
- ทำให้ครอบครัวมีปัญหา
- ทำให้สติปัญญาและความสามารถในการงาน
ลดลง
ลดลง
3. ข้อควรปฏิบัติในการป้องกันอันตรายจากบุหรี่และสุรา
- อยู่ห่างจากผู้ที่สูบบุหรี่หรือดื่มสุรา
- ถ้ามีคนมาชักชวนให้ทดลองเสพ ควรปฎิเสธทันที
- ไม่รับเครื่องดื่มหรือบุหรี่จากคนแปลกหน้า
- ศึกษาถึงโทษของการสูบบุหรี่และดื่มสุราในด้านต่างๆ
- ร่วมกันเผยแพร่ถึงอันตรายของบุหรี่และสุรา
เด็กๆครับ หลังจากนักเรียนได้ศึกษาเนื้อหาในเรื่องโทษของบุหรี่และสุรา
แล้วมาทำแบบฝึกหัดกันนะครับ
แล้วมาทำแบบฝึกหัดกันนะครับ
สรุปก่อนจบบทเรียน เรื่องโทษของบุหรี่และสุรา